โรครากเน่าโคนเน่าในขนุน
เตือนภัยกษตรกรผู้ปลูกขนุน เฝ้าระวัง "โรครากเน่า?โคน?เน่า?ในขนุน"
Last Update : 10:07:29 17/10/2019
โรคสแคปในมะม่วง
โรคสแคปในมะม่วง? Mango scab สาเหตุ?เกิดจาก?เชื้อ?รา? Elsino?? mangiferae? Bitanc.? &? Jenkins
Last Update : 10:07:08 17/10/2019
หนอนเจาะฝักลายจุด
เกษตรกรผู้ปลูกถั่วฝักยาว เร่งเฝ้าระวัง หนอนเจาะฝักลายจุด (Bean pod-borer) เข้าทำลายถั่วฝักยาว ทั้งในระยะติดดอกและออกฝัก
Last Update : 13:41:22 17/07/2019
โรคราน้ำฝน
"โรคราน้ำฝน" ที่จะมาพร้อมกับฤดูฝนที่กำลังมา คาดน่าจะมีความรุนแรงและพบมากในพื้นที่จังหวัดตอนบนของประเทศ ได้แก่ ลำพูน เชียงใหม่ เชียงราย น่าน พะเยาและตาก
Last Update : 11:40:46 17/07/2019
เพลี้ยอ่อน
ช่วงนี้เริ่มเข้าสู่ฤดูฝน เกษตรกรในหลายพื้นที่เริ่มเตรียมแปลงเพาะปลูกผักนานาชนิด ทั้งช่วงนี้กระแสราคาผลผลิตพืชผักราคาต่อกิโลกรัมสูงขึ้น
Last Update : 11:38:56 17/07/2019
แอ็กดิค
Brand : ยักษ์ใหญ่
Last Update : 10:30:18 30/01/2020
ออนเนอร์
Last Update : 12:04:56 01/04/2019
ไฟว์โกร
Last Update : 11:35:46 01/04/2019
แอ็กมิดา โกลด์
Last Update : 11:33:34 01/04/2019
คลอร์ดี
Last Update : 10:45:10 01/04/2019

โรคใบไหม้มันฝรั่ง

Last Update: 12:00:29 01/02/2019
Page View (1766)

อาการในระยะเริ่มแรก ใบจะมีจุดช้ำน้ำ คล้ายถูกน้ำร้อนลวก แผลมีสีเขียวหม่น ถ้าสภาพอากาศเย็นและความชื้นสูง ด้านใต้ใบจะพบเป็นละอองน้ำสีขาวเล็กๆ ติดอยู่ ต่อมาแผลจะขยายใหญ่ขึ้น แผลแห้งกลายเป็นสีน้ำตาล ที่เรียกว่า "ใบไหม้" หากป้องกันไม่ทัน โรคจะลุกลามจากใบไปที่กิ่งและลำต้น ทำให้ต้นแห้งตายในที่สุดและยังสามารถเข้าทำลายหัวมันฝรั่ง ทำให้หัวเน่าได้อีกด้วย 

การป้องกัน เมื่อพบอาการของโรคใบไหม้ 1-3 ใบ ต่อต้น ควรฉีดพ่นด้วย อาร์นิลีน (สารป้องกันกำจัดโรคพืช กลุ่ม 27+M3) อัตรา 50-60 กรัม ผสมกับ แอ็กท็อป35 (สารกำจัดโรคพืช กลุ่ม 4) อัตรา 25-30 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง ห่างกันไม่เกิน 5-7 วัน



 
© 2000-2008 CopyRight by AG-GRO (Thailand) Co.,Ltd.
Tel. 023082102  Fax. 023082487  Website. www.aggrogroups.com
disclaimer | privacy | contact us

  Sale Login Warehouse Login Driver Login