บายศรีเทพหงส์ 2 ชั้น
Brand : บายศรีหนองป่าครั่ง
ความเป็นมาของบายศรี บายศรีเป็นศิลปะประดิษฐ์ชั้นสูงของไทย ที่ถ่ายทอดให้เห็นถึงความละเอียดอ่อนช้อยแต่งามสง่า ตั้งแต่กระบวนการทำ จนปรากฏเป็นชิ้นงานที่สมบูรณ์ ซึ่งต้องอาศัยประสบการณ์และทักษะชั้นสูงในการประดิษฐ์ อีกทั้งยังเป็นงานประณีตศิลป์ที่สะท้อนให้เห็นถึงจินตนาการอันงดงามที่มาจากจิตวิญญาณของความเป็นไทยได้เป็นอย่างดี นับเป็นผลงานที่คนไทยทั้งชาติรู้สึกภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่งที่สามารถแสดงให้ชาวโลกได้ประจักษ์ในความสามารถด้านหัตถศิลป์ ที่เกิดจากภูมิปัญญาที่หลักแหลมของบรรพบุรุษไทย ได้มอบให้เป็นมรดกอันล้ำค่าที่ตกทอดมาจนถึงปัจจุบัน บายศรี คือ เครื่องใช้ที่จัดตกแต่งอย่างสวยงาม ใช้ประกอบในพิธีมงคลต่างๆ ของคนไทย ซึ่งตามประวัติความเป็นมาของบายศรีนั้น ไม่มีผู้ใดทราบแน่นอน ปรากฏเพียงว่าไทยได้รับอิทธิพลพราหมณ์ ซึ่งเชื่อว่า บายศรี เป็นที่สถิตของเทพเจ้า และ เป็นเครื่องหมาย แห่งความเป็นสิริมงคล ช่วยเสริมสร้างความเชื่อมั่นและกำลังใจ ดังนั้นจึงใช้เฉพาะในพิธีมงคล เท่านั้น และนิยมใช้ตั้งแต่พระราชพิธีที่เกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริย์พระราชวงศ์ชั้นสูงตลอดจน ถึงประชาชนทั่วไปในอดีตนิยมใช้ใบตองตานีสด เนื่องจากมีความเหนียวไม่ค่อยแตก ไม่เหี่ยวง่าย สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน ทั้งนำมาพับหรือม้วนให้มีรูปแบบต่างๆ ตามที่ต้องการได้ดี มีการ ประดับตกแต่ง ด้วยดอกไม้นานาชนิดที่มีชื่อเป็นมงคล เช่น ดอกรัก ดอกบานไม่รู้โรย ดอกดาวเรือง ดอกขจรนอกจากนี้ยังมีอาหารคาวหวานต่างๆ วางตามชั้นแต่ละชั้นของบายศรีโดยเลือกชนิดที่เป็นมงคล เช่น มะพร้าวอ่อน ไข่ต้ม ข้าวสุก กล้วยน้ำว้า แตงกวา ฝอยทองขนมชั้น ขนมถ้วยฟู เป็นต้น ในปัจจุบัน บายศรี นิยมใช้ในพิธีต่างๆ เช่น การเลี้ยงต้อนรับอาคันตุกะ การรับน้องใหม่ของนิสิตนักศึกษาในสถาบันการศึกษา พิธีทำขวัญนาค พิธีสู่ขวัญบ่าวสาว สำหรับความนิยมในการใช้บายศรีประกอบในพิธีมงคลต่างๆ ของชาวไทยยังคงมีให้เห็นอยู่ทั่วไปในปัจจุบัน โดยเฉพาะ ในภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคอีสาน ซึ่งรูปแบบบายศรีทั้ง 3 ภาคนั้น จะไม่แตกต่างกันมากนัก แต่สิ่งที่ต่างกัน คือ การตกแต่งประดับประดา ให้วิจิตรตระการตาด้วยเครื่องประกอบต่างๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับฐานะตำแหน่งของเจ้าภาพ และโอกาสในการใช้เท่านั้น
Last Update : 20:06:52 25/08/2014
ขันไหว้สามังคละ
Brand : บายศรีหนองป่าครั่ง
ใช้ในวาระโอกาสสำคัญๆต่างๆ บายศรี เป็นของสูงเป็นสิ่งที่มีค่าของคนไทย ตั้งแต่โบราณมาจนถึงปัจจุบันนับตั้งแต่เกิดจะจัดพิธีสังเวยและทำขวัญในวาระต่างๆ ซึ่งจะต้อง มีบายศรีเป็นสิ่งสำคัญในพิธีนั้นๆ ซึ่งเป็น ศาสนาพิธีของพราหมณ์ คำว่า ? บาย ? หมายถึง ข้าวสุก ส่วน ? ศรี ? หมายถึง มิ่งขวัญหรือสิริมงคล ดังนั้น คำว่า ? บายศรี ?จึงมีความหมายว่าข้าวอันเป็นสิริ , ขวัญข้าวหรือข้าวที่จัดเพื่อเป็นสิ่งมงคล ?บายศรีล้านนา? เป็นเครื่องสักการะที่สะท้อนให้เห็นถึง ประเพณี วัฒนธรรม วิถีชีวิต ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของชาวล้านนา บายศรี ถือเป็นเครื่องสักการะชั้นสูง ถ่ายทอดให้เห็นถึงความละเอียดอ่อนช้อย ซึ่งเป็นงานประณีตศิลป์ ที่แฝงไปด้วยภูมิปัญญาที่สืบทอดต่อๆกันมา ปัจจุบัน ? บายศรี ? นิยมใช้ในพิธีที่ก่อให้เกิดความเป็นสิริมงคล เช่น การสักการบูชา เทพยาดา พิธีบวงสรวง พิธีสู่ขวัญบ่าวสาว การเลี้ยงต้อนรับแขกบ้านแขกเมือง
Last Update : 11:09:13 25/08/2014
บายศรีขันผูกมือสามชั้น
Brand : บายศรีหนองป่าครั่ง
ความเป็นมาของบายศรี บายศรีเป็นศิลปะประดิษฐ์ชั้นสูงของไทย ที่ถ่ายทอดให้เห็นถึงความละเอียดอ่อนช้อยแต่งามสง่า ตั้งแต่กระบวนการทำ จนปรากฏเป็นชิ้นงานที่สมบูรณ์ ซึ่งต้องอาศัยประสบการณ์และทักษะชั้นสูงในการประดิษฐ์ อีกทั้งยังเป็นงานประณีตศิลป์ที่สะท้อนให้เห็นถึงจินตนาการอันงดงามที่มาจากจิตวิญญาณของความเป็นไทยได้เป็นอย่างดีนับเป็นผลงานที่คนไทยทั้งชาติรู้สึกภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่งที่สามารถแสดงให้ชาวโลกได้ประจักษ์ในความสามารถด้านหัตถศิลป์ ที่เกิดจากภูมิปัญญาที่หลักแหลมของบรรพบุรุษไทย ได้มอบให้เป็นมรดกอันล้ำค่าที่ตกทอดมาจนถึงปัจจุบัน บายศรี คือ เครื่องใช้ที่จัดตกแต่งอย่างสวยงาม ใช้ประกอบในพิธีมงคลต่างๆ ของคนไทย ซึ่งตามประวัติความเป็นมาของบายศรีนั้น ไม่มีผู้ใดทราบแน่นอน ปรากฏเพียงว่าไทยได้รับอิทธิพลพราหมณ์ ซึ่งเชื่อว่า บายศรี เป็นที่สถิตของเทพเจ้า และ เป็นเครื่องหมาย แห่งความเป็นสิริมงคล ช่วยเสริมสร้างความเชื่อมั่นและกำลังใจ ดังนั้นจึงใช้เฉพาะในพิธีมงคล เท่านั้น และนิยมใช้ตั้งแต่พระราชพิธีที่เกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริย์พระราชวงศ์ชั้นสูงตลอดจนถึงประชาชนทั่วไปในอดีตนิยมใช้ใบตองตานีสดเนื่องจากมีความเหนียวไม่ค่อยแตก ไม่เหี่ยวง่าย สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน ทั้งนำมาพับหรือม้วนให้มีรูปแบบต่างๆ ตามที่ต้องการได้ดี มีการประดับตกแต่ง ด้วยดอกไม้นานาชนิดที่มีชื่อเป็นมงคล เช่น ดอกรัก ดอกบานไม่รู้โรย ดอกดาวเรือง ดอกขจรนอกจากนี้ยังมีอาหารคาวหวานต่างๆ วางตามชั้นแต่ละชั้นของบายศรีโดยเลือกชนิดที่เป็นมงคล เช่น มะพร้าวอ่อน ไข่ต้ม ข้าวสุก กล้วยน้ำว้า แตงกวา ฝอยทองขนมชั้น ขนมถ้วยฟู เป็นต้น ในปัจจุบัน บายศรี นิยมใช้ในพิธีต่างๆ เช่น การเลี้ยงต้อนรับอาคันตุกะ การรับน้องใหม่ของนิสิตนักศึกษาในสถาบันการศึกษา พิธีทำขวัญนาค พิธีสู่ขวัญบ่าวสาว สำหรับความนิยมในการใช้บายศรีประกอบในพิธีมงคลต่างๆ ของชาวไทยยังคงมีให้เห็นอยู่ทั่วไปในปัจจุบัน โดยเฉพาะ ในภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคอีสาน ซึ่งรูปแบบบายศรีทั้ง 3 ภาคนั้น จะไม่แตกต่างกันมากนัก แต่สิ่งที่ต่างกัน คือ การตกแต่งประดับประดาให้วิจิตรตระการตาด้วยเครื่องประกอบต่างๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับฐานะตำแหน่งของเจ้าภาพ และโอกาสในการใช้เท่านั้น
Last Update : 20:37:04 21/08/2014
บายศรีขันผูกมือ
Brand : บายศรีหนองป่าครั่ง
ความเป็นมาของบายศรี บายศรีเป็นศิลปะประดิษฐ์ชั้นสูงของไทย ที่ถ่ายทอดให้เห็นถึงความละเอียดอ่อนช้อยแต่งามสง่า ตั้งแต่กระบวนการทำ จนปรากฏเป็นชิ้นงานที่สมบูรณ์ ซึ่งต้องอาศัยประสบการณ์และทักษะชั้นสูงในการประดิษฐ์ อีกทั้งยังเป็นงานประณีตศิลป์ที่สะท้อนให้เห็นถึงจินตนาการอันงดงามที่มาจากจิตวิญญาณของความเป็นไทยได้เป็นอย่างดีนับเป็นผลงานที่คนไทยทั้งชาติรู้สึกภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่งที่สามารถแสดงให้ชาวโลกได้ประจักษ์ในความสามารถด้านหัตถศิลป์ ที่เกิดจากภูมิปัญญาที่หลักแหลมของบรรพบุรุษไทย ได้มอบให้เป็นมรดกอันล้ำค่าที่ตกทอดมาจนถึงปัจจุบัน บายศรี คือ เครื่องใช้ที่จัดตกแต่งอย่างสวยงาม ใช้ประกอบในพิธีมงคลต่างๆ ของคนไทย ซึ่งตามประวัติความเป็นมาของบายศรีนั้น ไม่มีผู้ใดทราบแน่นอน ปรากฏเพียงว่าไทยได้รับอิทธิพลพราหมณ์ ซึ่งเชื่อว่า บายศรี เป็นที่สถิตของเทพเจ้า และ เป็นเครื่องหมาย แห่งความเป็นสิริมงคล ช่วยเสริมสร้างความเชื่อมั่นและกำลังใจ ดังนั้นจึงใช้เฉพาะในพิธีมงคล เท่านั้น และนิยมใช้ตั้งแต่พระราชพิธีที่เกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริย์พระราชวงศ์ชั้นสูงตลอดจนถึงประชาชนทั่วไปในอดีตนิยมใช้ใบตองตานีสดเนื่องจากมีความเหนียวไม่ค่อยแตก ไม่เหี่ยวง่าย สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน ทั้งนำมาพับหรือม้วนให้มีรูปแบบต่างๆ ตามที่ต้องการได้ดี มีการประดับตกแต่ง ด้วยดอกไม้นานาชนิดที่มีชื่อเป็นมงคล เช่น ดอกรัก ดอกบานไม่รู้โรย ดอกดาวเรือง ดอกขจรนอกจากนี้ยังมีอาหารคาวหวานต่างๆ วางตามชั้นแต่ละชั้นของบายศรีโดยเลือกชนิดที่เป็นมงคล เช่น มะพร้าวอ่อน ไข่ต้ม ข้าวสุก กล้วยน้ำว้า แตงกวา ฝอยทองขนมชั้น ขนมถ้วยฟู เป็นต้น ในปัจจุบัน บายศรี นิยมใช้ในพิธีต่างๆ เช่น การเลี้ยงต้อนรับอาคันตุกะ การรับน้องใหม่ของนิสิตนักศึกษาในสถาบันการศึกษา พิธีทำขวัญนาค พิธีสู่ขวัญบ่าวสาว สำหรับความนิยมในการใช้บายศรีประกอบในพิธีมงคลต่างๆ ของชาวไทยยังคงมีให้เห็นอยู่ทั่วไปในปัจจุบัน โดยเฉพาะ ในภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคอีสาน ซึ่งรูปแบบบายศรีทั้ง 3 ภาคนั้น จะไม่แตกต่างกันมากนัก แต่สิ่งที่ต่างกัน คือ การตกแต่งประดับประดาให้วิจิตรตระการตาด้วยเครื่องประกอบต่างๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับฐานะตำแหน่งของเจ้าภาพ และโอกาสในการใช้เท่านั้น
Last Update : 20:23:35 21/08/2014
บายศรีปากชาม
Brand : บายศรีหนองป่าครั่ง
ความเป็นมาของบายศรี บายศรีเป็นศิลปะประดิษฐ์ชั้นสูงของไทย ที่ถ่ายทอดให้เห็นถึงความละเอียดอ่อนช้อยแต่งามสง่า ตั้งแต่กระบวนการทำ จนปรากฏเป็นชิ้นงานที่สมบูรณ์ ซึ่งต้องอาศัยประสบการณ์และทักษะชั้นสูงในการประดิษฐ์ อีกทั้งยังเป็นงานประณีตศิลป์ที่สะท้อนให้เห็นถึงจินตนาการอันงดงามที่มาจากจิตวิญญาณของความเป็นไทยได้เป็นอย่างดีนับเป็นผลงานที่คนไทยทั้งชาติรู้สึกภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่งที่สามารถแสดงให้ชาวโลกได้ประจักษ์ในความสามารถด้านหัตถศิลป์ ที่เกิดจากภูมิปัญญาที่หลักแหลมของบรรพบุรุษไทย ได้มอบให้เป็นมรดกอันล้ำค่าที่ตกทอดมาจนถึงปัจจุบัน บายศรี คือ เครื่องใช้ที่จัดตกแต่งอย่างสวยงาม ใช้ประกอบในพิธีมงคลต่างๆ ของคนไทย ซึ่งตามประวัติความเป็นมาของบายศรีนั้น ไม่มีผู้ใดทราบแน่นอน ปรากฏเพียงว่าไทยได้รับอิทธิพลพราหมณ์ ซึ่งเชื่อว่า บายศรี เป็นที่สถิตของเทพเจ้า และ เป็นเครื่องหมาย แห่งความเป็นสิริมงคล ช่วยเสริมสร้างความเชื่อมั่นและกำลังใจ ดังนั้นจึงใช้เฉพาะในพิธีมงคล เท่านั้น และนิยมใช้ตั้งแต่พระราชพิธีที่เกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริย์พระราชวงศ์ชั้นสูงตลอดจนถึงประชาชนทั่วไปในอดีตนิยมใช้ใบตองตานีสดเนื่องจากมีความเหนียวไม่ค่อยแตก ไม่เหี่ยวง่าย สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน ทั้งนำมาพับหรือม้วนให้มีรูปแบบต่างๆ ตามที่ต้องการได้ดี มีการประดับตกแต่ง ด้วยดอกไม้นานาชนิดที่มีชื่อเป็นมงคล เช่น ดอกรัก ดอกบานไม่รู้โรย ดอกดาวเรือง ดอกขจรนอกจากนี้ยังมีอาหารคาวหวานต่างๆ วางตามชั้นแต่ละชั้นของบายศรีโดยเลือกชนิดที่เป็นมงคล เช่น มะพร้าวอ่อน ไข่ต้ม ข้าวสุก กล้วยน้ำว้า แตงกวา ฝอยทองขนมชั้น ขนมถ้วยฟู เป็นต้น ในปัจจุบัน บายศรี นิยมใช้ในพิธีต่างๆ เช่น การเลี้ยงต้อนรับอาคันตุกะ การรับน้องใหม่ของนิสิตนักศึกษาในสถาบันการศึกษา พิธีทำขวัญนาค พิธีสู่ขวัญบ่าวสาว สำหรับความนิยมในการใช้บายศรีประกอบในพิธีมงคลต่างๆ ของชาวไทยยังคงมีให้เห็นอยู่ทั่วไปในปัจจุบัน โดยเฉพาะ ในภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคอีสาน ซึ่งรูปแบบบายศรีทั้ง 3 ภาคนั้น จะไม่แตกต่างกันมากนัก แต่สิ่งที่ต่างกัน คือ การตกแต่งประดับประดาให้วิจิตรตระการตาด้วยเครื่องประกอบต่างๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับฐานะตำแหน่งของเจ้าภาพ และโอกาสในการใช้เท่านั้น
Last Update : 20:06:30 21/08/2014

Page View  3174  
Product Information :

Product Name:  
บายศรีพรมเปิด
Product Category:   หัตถกรรม ของขวัญและของชำร่วย
Product Sub-Category:   ของขวัญ
Brand:   บายศรีหนองป่าครั่ง 
Product Type :   สินค้า, ผลิตภัณฑ์ 
Short Description :   ความเป็นมาของบายศรี บายศรีเป็นศิลปะประดิษฐ์ชั้นสูงของไทย ที่ถ่ายทอดให้เห็นถึงความละเอียดอ่อนช้อยแต่งามสง่า ตั้งแต่กระบวนการทำ จนปรากฏเป็นชิ้นงานที่สมบูรณ์ ซึ่งต้องอาศัยประสบการณ์และทักษะชั้นสูงในการประดิษฐ์ อีกทั้งยังเป็นงานประณีตศิลป์ที่สะท้อนให้เห็นถึงจินตนาการอันงดงามที่มาจากจิตวิญญาณของความเป็นไทยได้เป็นอย่างดีนับเป็นผลงานที่คนไทยทั้งชาติรู้สึกภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่งที่สามารถแสดงให้ชาวโลกได้ประจักษ์ในความสามารถด้านหัตถศิลป์ ที่เกิดจากภูมิปัญญาที่หลักแหลมของบรรพบุรุษไทย ได้มอบให้เป็นมรดกอันล้ำค่าที่ตกทอดมาจนถึงปัจจุบัน บายศรี คือ เครื่องใช้ที่จัดตกแต่งอย่างสวยงาม ใช้ประกอบในพิธีมงคลต่างๆ ของคนไทย ซึ่งตามประวัติความเป็นมาของบายศรีนั้น ไม่มีผู้ใดทราบแน่นอน ปรากฏเพียงว่าไทยได้รับอิทธิพลพราหมณ์ ซึ่งเชื่อว่า บายศรี เป็นที่สถิตของเทพเจ้า และ เป็นเครื่องหมาย แห่งความเป็นสิริมงคล ช่วยเสริมสร้างความเชื่อมั่นและกำลังใจ ดังนั้นจึงใช้เฉพาะในพิธีมงคล เท่านั้น และนิยมใช้ตั้งแต่พระราชพิธีที่เกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริย์พระราชวงศ์ชั้นสูงตลอดจนถึงประชาชนทั่วไปในอดีตนิยมใช้ใบตองตานีสดเนื่องจากมีความเหนียวไม่ค่อยแตก ไม่เหี่ยวง่าย สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน ทั้งนำมาพับหรือม้วนให้มีรูปแบบต่างๆ ตามที่ต้องการได้ดี มีการประดับตกแต่ง ด้วยดอกไม้นานาชนิดที่มีชื่อเป็นมงคล เช่น ดอกรัก ดอกบานไม่รู้โรย ดอกดาวเรือง ดอกขจรนอกจากนี้ยังมีอาหารคาวหวานต่างๆ วางตามชั้นแต่ละชั้นของบายศรีโดยเลือกชนิดที่เป็นมงคล เช่น มะพร้าวอ่อน ไข่ต้ม ข้าวสุก กล้วยน้ำว้า แตงกวา ฝอยทองขนมชั้น ขนมถ้วยฟู เป็นต้น ในปัจจุบัน บายศรี นิยมใช้ในพิธีต่างๆ เช่น การเลี้ยงต้อนรับอาคันตุกะ การรับน้องใหม่ของนิสิตนักศึกษาในสถาบันการศึกษา พิธีทำขวัญนาค พิธีสู่ขวัญบ่าวสาว สำหรับความนิยมในการใช้บายศรีประกอบในพิธีมงคลต่างๆ ของชาวไทยยังคงมีให้เห็นอยู่ทั่วไปในปัจจุบัน โดยเฉพาะ ในภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคอีสาน ซึ่งรูปแบบบายศรีทั้ง 3 ภาคนั้น จะไม่แตกต่างกันมากนัก แต่สิ่งที่ต่างกัน คือ การตกแต่งประดับประดาให้วิจิตรตระการตาด้วยเครื่องประกอบต่างๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับฐานะตำแหน่งของเจ้าภาพ และโอกาสในการใช้เท่านั้น
     
 

บายศรีพรมเปิด ใช้บูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือเป็นของฝากของที่ระลึก และใช้สำหรับตกแต่งตามสถานที่ต่างๆตามสมควร มีขนาดตั้งแต่ 4 นิ้ว ถึง 6 นิ้ว

ขนาด 4 นิ้ว ราคาคู่ละ  1,340  บาท

ขนาด 5 นิ้ว ราคาคู่ละ  1,700  บาท

ขนาด 6 นิ้ว ราคาคู่ละ  2,000  บาท

บายศรีพรมเปิด ใช้บูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือเป็นของฝากของที่ระลึก และใช้สำหรับตกแต่งตามสถานที่ต่างๆตามสมควร มีขนาดตั้งแต่ 4 นิ้ว ถึง 6 นิ้ว

ขนาด 4 นิ้ว ราคาชิ้นละ  670  บาท

ขนาด 5 นิ้ว ราคาชิ้นละ  850  บาท

ขนาด 6 นิ้ว ราคาชิ้นละ  1,000  บาท

 

© 2000-2008 CopyRight by Baisri Nongpakrang
Tel. 053305123  Fax. 053247870
disclaimer | privacy | contact us

  Sale Login Warehouse Login Driver Login