โรครากเน่าโคนเน่าในขนุน
เตือนภัยกษตรกรผู้ปลูกขนุน เฝ้าระวัง "โรครากเน่า?โคน?เน่า?ในขนุน"
Last Update : 10:07:29 17/10/2019
โรคสแคปในมะม่วง
โรคสแคปในมะม่วง? Mango scab สาเหตุ?เกิดจาก?เชื้อ?รา? Elsino?? mangiferae? Bitanc.? &? Jenkins
Last Update : 10:07:08 17/10/2019
หนอนเจาะฝักลายจุด
เกษตรกรผู้ปลูกถั่วฝักยาว เร่งเฝ้าระวัง หนอนเจาะฝักลายจุด (Bean pod-borer) เข้าทำลายถั่วฝักยาว ทั้งในระยะติดดอกและออกฝัก
Last Update : 13:41:22 17/07/2019
โรคราน้ำฝน
"โรคราน้ำฝน" ที่จะมาพร้อมกับฤดูฝนที่กำลังมา คาดน่าจะมีความรุนแรงและพบมากในพื้นที่จังหวัดตอนบนของประเทศ ได้แก่ ลำพูน เชียงใหม่ เชียงราย น่าน พะเยาและตาก
Last Update : 11:40:46 17/07/2019
เพลี้ยอ่อน
ช่วงนี้เริ่มเข้าสู่ฤดูฝน เกษตรกรในหลายพื้นที่เริ่มเตรียมแปลงเพาะปลูกผักนานาชนิด ทั้งช่วงนี้กระแสราคาผลผลิตพืชผักราคาต่อกิโลกรัมสูงขึ้น
Last Update : 11:38:56 17/07/2019
แอ็กดิค
Brand : ยักษ์ใหญ่
Last Update : 10:30:18 30/01/2020
ออนเนอร์
Last Update : 12:04:56 01/04/2019
ไฟว์โกร
Last Update : 11:35:46 01/04/2019
แอ็กมิดา โกลด์
Last Update : 11:33:34 01/04/2019
คลอร์ดี
Last Update : 10:45:10 01/04/2019

โรคราน้ำฝน

Last Update: 11:40:46 17/07/2019
Page View (2172)

"โรคราน้ำฝน" ที่จะมาพร้อมกับฤดูฝนที่กำลังมา คาดน่าจะมีความรุนแรงและพบมากในพื้นที่จังหวัดตอนบนของประเทศ ได้แก่ ลำพูน เชียงใหม่ เชียงราย น่าน พะเยาและตาก โดยสาเหตุหลักของโรคราน้ำฝนเกิดจากเชื้อราไฟท็อปธอร่า (Phytophthora mirabilis) ซึ้งเชื้อราอาศัยอยู่ในดินนานข้ามปี เมื่อมีความชื้นหรือฝนชุก เชื้อราจะเจริญและสามารถแพร่ไปกับน้ำฝนหรือน้ำจากสปริงเกอร์ได้ดี ลักษณะที่รุนแรงของโรคราน้ำฝนมักเกิดกับผลลำไย แผลที่ผลจะมีสีน้ำตาลเข้ม พบทั้งในผลอ่อนระยะพัฒนาเม็ดในดำจนถึงผลระยะก่อนเก็บเกี่ยว จะพบแผลบริเวณเปลือกและขั้วผล ในกรณีมีฝนตกชุกติดต่อกัน จะพบเส้นใยสีขาวขึ้นฟูคลุมผล ต่อมาผลจะเน่า แตก และหลุดร่วง การป้องกัน เมื่อมีฝนตกควรหมั่นพ่นน้ำส้มควันไม้ติดต่อกันทุก 3-4 วัน เพื่อป้องกัน หรือพ่นสารกำจัดโรคพืช ทุก 7-10 วัน สารกำจัดโรคพืชที่แนะนำ ได้แก่ อาร์นิลีน อัตรา 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่น 2-3 ครั้ง แล้วจึงสลับด้วย แอ็กท็อป35 อัตรา 25-30 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพควรผสม คอมโบเนนท์ บี เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจับใบ แพร่กระจายสารและเพิ่มฤทธิ์ในการดูดซึมของสาร



 
© 2000-2008 CopyRight by AG-GRO (Thailand) Co.,Ltd.
Tel. 023082102  Fax. 023082487  Website. www.aggrogroups.com
disclaimer | privacy | contact us

  Sale Login Warehouse Login Driver Login